ระบบออโตเมชั่น : ตัวช่วยนักวิทยาศาสตร์ข้อมูลในการสร้างความได้เปรียบให้กับธุรกิจห้างค้าปลีก
dot dot
ระบบออโตเมชั่น : ตัวช่วยนักวิทยาศาสตร์ข้อมูลในการสร้างความได้เปรียบให้กับธุรกิจห้างค้าปลีก

ระบบออโตเมชั่น : ตัวช่วยนักวิทยาศาสตร์ข้อมูลในการสร้างความได้เปรียบให้กับธุรกิจห้างค้าปลีก

เช่นเดียวกับอุตสาหกรรมอื่น ๆ ระบบอัตโนมัติหรือออโตเมชั่นมีศักยภาพในการเปลี่ยนแปลงระบบการทำงานแบบดั้งเดิมได้อย่างรวดเร็วและรุนแรงในทำนองเดียวกับที่นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (data scientist) สร้างการเปลี่ยนแปลงให้กับประสิทธิภาพการวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างน่าทึ่ง แถมยังช่วยเสริมคุณค่าในงานของเขาให้มีมูลค่าสูงยิ่งขึ้น  ในบทความนี้ วีเจย์ บาลาจิ แมเดสวารัน ผู้อำนวยการฝ่าย Applied Data Science ของดันน์ฮัมบี้ APAC จะมาเผยถึงมุมมองว่าด้วยเรื่องศักยภาพของระบบอัตโนมัติที่จะส่งผลต่ออนาคตของวิทยาศาสตร์ข้อมูล รวมถึงอุปสรรคที่ขัดขวางไม่ให้เกิดการนำมาใช้อย่างแพร่หลาย

คุณทำอาชีพอะไร?” นี่คือหนึ่งในคำถามที่บรรดานักวิทยาศาสตร์ข้อมูลมักถูกถามอยู่เสมอและคำตอบก็สามารถ เปลี่ยนไปได้เรื่อยๆ ขึ้นอยู่กับว่าใครเป็นผู้ถาม และเขาหรือเธอมีระดับความเข้าใจที่เราคิดว่าพวกเขามีต่อสายงาน ของพวกเราแค่ไหน?

สำหรับอาชีพนักวิทยาศาสตร์ข้อมูล สิ่งที่เรา "ทำเพื่อหาเลี้ยงชีพ" อาจอธิบายออกมาเป็นคำพูดได้ยากเป็นพิเศษ วิทยาศาสตร์ข้อมูลเป็นคำกว้างๆ ที่เต็มไปด้วยบทบาทหน้าที่และทักษะงานในด้านต่างๆ มากมายซ่อนอยู่ ซึ่งโดยส่วนใหญ่ต้องใช้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ดังนั้นผมจึงคิดว่าคำตอบส่วนใหญ่ที่คุณจะได้รับเมื่อถามนักวิทยา ศาสตร์ข้อมูลว่างานของพวกเขาเกี่ยวข้องกับอะไร? คุณจะได้รับคำตอบไม่ข้อใดก็ข้อหนึ่งในห้าข้อนี้

#ไม่พลาด_คลิบ_ข่าวสาร_และความบันเทิง ได้ทุกช่องทาง

เว็บไซต์ รวมคลิบ ข่าวสารและความบันเทิง

http://www.intvthai.com

ช่องยูทูป INTV Thai รวมคลิบข่าวสาร ความบันเทิง

https://www.youtube.com/channel/UCpngK3GfIscX1MQrq_VUWeg...

FB Fanpage : ตลาดวิเคราะห์ news รวมข่าวสารและความบันเทิง

https://www.facebook.com/taladvikraonews

FB Fanpage : INTV Channel รวมคลิบข่าวสารและความบันเทิง

https://www.facebook.com/intvchannelonline

FB Fanpage : ส่องข่าวนอก by Taladvikrao

https://www.facebook.com/upcountrynewsbytaladvikrao

 

 

i.          การแสวงหาและจัดเก็บข้อมูล: การรวบรวม การเก็บรักษา และจัดเก็บข้อมูลอย่างเหมาะสม

ii.        การจัดการ: การชำระข้อมูล การแยกแยะ การดัดแปลง และการนำเข้าข้อมูล ตลอดจน การตรวจจับความผิดปกติของข้อมูล

iii.     การรายงาน: การประมวลผลข้อมูลในลักษณะที่สามารถนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ (BI) เช่น การวิเคราะห์ ตัวชี้วัด และการแบ่งส่วนทางการตลาด (Segmentation)

iv.     การเรียนรู้: การวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง รวมถึงเทคนิคการเรียนรู้ของเครื่องจักรอย่างง่าย (machine learning)

v.        AI หรือปัญญาประดิษฐ์: การประยุกต์ใช้การเรียนรู้ของเครื่องจักรขั้นสูง (advanced machine Learning)

ถึงแม้ผมจะคิดว่าทั้งห้าข้อด้านบนนี้เป็นบทสรุปที่สมเหตุสมผลกับการอธิบายลักษณะงานของนักวิทยาศาสตร์ ข้อมูล แต่ผมก็คิดว่ายังมีบางอย่างขาดหายไปซึ่งก็คือ ระบบออโตเมชั่น นักวิทยาศาสตร์ข้อมูลส่วนใหญ่มักไม่นับรวมระบบออโตเมชั่นว่าเป็นองค์ประกอบหลักในงานของตน แต่มันมีความสำคัญเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในแง่ของการวัดผลตอบแทนการลงทุน (ROI)

เฉกเช่นเดียวกับ data literacy ซึ่งมีศักยภาพมากพอที่จะเปลี่ยนโฉมคำนิยามของนักวิทยาศาสตร์ข้อมูลแบบพลิกหน้ามือเป็นหลังมือ ย่อมกลายเป็นสิ่งที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายตามมา โดยภาพรวมระบบออโตเมชั่นถูกมองว่าจะสร้างผลกระทบในระดับการเปลี่ยนแปลงของวิทยาศาสตร์ข้อมูล และที่สำคัญประโยชน์ที่พึงได้รับนั้นมีมากกว่าแค่การทำให้กระบวนการทำงานรวดเร็วขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น หากระบบออโตเมชั่นถูกนำไปใช้งานอย่างเต็มประสิทธิภาพ มันจะเป็นเสมือนตัวช่วยในแทบทุกเรื่อง ตั้งแต่สร้างระเบียบปฏิบัติให้แก่ พนักงาน ตลอดจนการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน เพราะเหตุใดผมจึงเชื่อเช่นนั้น? ลองพิจารณาตามนี้ดู

ระบบออโตเมชั่นช่วยทำลายความน่าเบื่อ การทำสิ่งเดิมซ้ำแล้วซ้ำเล่าเป็นเรื่องที่น่าเบื่อหน่าย ยิ่งไปกว่านั้น มันยังเป็นการเสียเวลา เสียแรงทุ่มเท และที่แย่ที่สุดก็คือมันทำให้คุณสูญเสียต้นทุนทางปัญญาที่คุณอุตส่าห์ ลงทุนไป ระบบออโตเมชั่นจะช่วยป้องกันไม่ให้ผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์ข้อมูลที่มากความสามารถต้องสิ้นเปลืองเวลาไปกับการแก้ไขปัญหาเดิมๆ ซ้ำๆ หรือทำงานซ้ำซาก ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้ทำให้พวกเขามีเวลาไปทำงานด้านอื่นๆ ที่มีคุณค่ามากขึ้นและทำงานที่มีส่วนร่วมมากขึ้น

คอมพิวเตอร์ช่วยให้เกิดการสินใจที่ดีขึ้นได้อย่างรวดเร็ว หากคุณเป็นผู้ค้าปลีกที่ต้องจัดโปรโมชั่น 15,000 รายการทุกสัปดาห์ การผลักภาระงานลักษณะนี้ให้มนุษย์เป็นผู้วิเคราะห์ข้อเสนอทั้งหมดดูจะมากกว่าเกินกว่าที่จะรับไหวต่อให้ทีมงานของคุณมีความสามารถเปี่ยมล้นเพียงใดก็ตาม หากคุณเปลี่ยนให้ระบบออโตเมชั่นเข้ามาทำหน้าที่ในการวิเคราะห์แทน โดยตั้งให้เครื่องแสดงและแนะนำแนวทางปฏิบัติ พร้อมใส่ค่าผลลัพธ์ที่คาดการณ์ ไว้ จะเป็นการช่วยให้ทีมงานที่เป็นบุคคลากรสามารถตัดสินใจได้อย่างชาญฉลาดและถูกต้องชัดเจนยิ่งขึ้น

ระบบออโตเมชั่นช่วยให้คุณจำลองสูตรสำเร็จและขยายขอบเขตงานได้ สมมติว่าทีมงานคุณมี 15 คนที่ทำงาน ด้านวิทยาศาสตร์ข้อมูลที่ขับเคลื่อน 1,000 แคมเปญต่อปี การทำให้กระบวนการเบื้องหลังการทำงานเป็นแบบออโตเมชั่นจะช่วยให้คุณสามารถลดทีมงานให้เหลือเพียงสองคน และสามารถจัดสรรทีมงานที่เหลือซึ่งมากความ สามารถไปช่วยแก้ปัญหาใหม่ๆ ขยายงานไปสู่พื้นที่อื่นๆ หรือพัฒนาแนวคิดใหม่ๆ ซึ่งประโยชน์ที่เพิ่มมาทั้งหมดนี้ได้มาด้วยค่าใช้จ่ายเท่าเดิม

ความเร็วเป็นข้อได้เปรียบในการแข่งขัน การตัดสินใจที่ล่าช้ามีค่าเท่ากับการไม่ได้ตัดสินใจ ยิ่งการตัดสินใจ ทางธุรกิจของคุณเร็วเท่าไหร่ คุณก็ยิ่งสามารถเอาชนะคู่แข่งได้เร็วขึ้นเท่านั้น ระบบออโตเมชั่นจะช่วยให้องค์กร มีโอกาสสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ซึ่งเป็นปัจจัยที่จะมีความสำคัญเพิ่มมากขึ้นก็ต่อเมื่อเกิดการประยุกต์ ใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในวงกว้างหรือใช้กันอย่างแพร่หลาย

เช่นเดียวกับปัญญาประดิษฐ์ (AI) มีประเด็นถกเถียงเกิดขึ้นมากมายเกี่ยวกับระบบออโตเมชั่น ซึ่งอาจจะเดาได้ง่ายๆ ว่าเป็นเพราะทุกธุรกิจเกือบทุกแห่งได้เดินหน้าและเปลี่ยนให้กระบวนการและขั้นตอนส่วนใหญ่ขององค์กรเป็นระบบออโตเมชั่นแล้ว แต่น่าเสียดายที่ในกรณีนี้ไม่ใช่และจะยังคงไม่ได้เป็นเช่นนั้นจนกว่าเราจะ

สามารถเอาชนะอุปสรรคพื้นฐานบางประการที่ขวางทางการยอมรับในวงกว้างให้ได้เสียก่อน

ประการแรกคือการตระหนักรู้ องค์กรและผู้คนจำนวนมากไม่ได้ตระหนักถึงประโยชน์ที่ระบบออโตเมชั่นมีต่อองค์กร แม้แต่ผู้ที่เข้าใจว่ามันว่ามีประโยชน์ก็ยั่งหวั่นใจว่าจะดำเนินการอย่างไรเพื่อให้ออกมาดีที่สุดหรืออย่างน้อยก็เกิดผลสำเร็จ ความไม่แน่ใจนี้ยังทำให้ยากต่อการประเมินค่าใช้จ่ายที่จำเป็นในการขับเคลื่อนระบบออโตเมชั่นไปข้างหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อองค์กรส่วนใหญ่ยังแบกหนี้ต้นทุนด้านเทคนิคเป็นจำนวนมากอยู่แล้ว ซึ่งจะยิ่งเพิ่มแรงต่อต้านการเปลี่ยนแปลงให้มากยิ่งขึ้น

นอกจากนี้เราต้องคำนึงถึงปัจจัยด้านมนุษย์ด้วย ตามที่กล่าวไว้ข้างต้นระบบออโตเมชั่นจะลดปริมาณ ทรัพยากรบุคคลที่จำเป็นต้องใช้ในการแก้ปัญหาลงอย่างมาก แต่นั่นไม่ใช่ปัญหาสำหรับงานวิทยาศาสตร์ข้อมูล ที่ผู้เชี่ยวชาญสามารถปรับใช้ทักษะกับงานสาขาอื่นได้ อย่างไรก็ตามแนวคิดระหว่าง "มนุษย์กับเครื่องจักร" นั้นยากที่จะสั่นคลอนอย่างไม่ต้องสงสัย และมีบางสิ่งที่พิสูจน์ให้เห็นด้วยว่าการวิเคราะห์ของมนุษย์นั้น "สร้างสรรค์" มากกว่าเครื่องจักร

ในท้ายที่สุด สำหรับคนบางกลุ่มระบบออโตเมชั่นจะไม่มีความสำคัญเร่งด่วนเพราะพวกเขาอาจเชื่อว่า ความต้องการของพวกเขาเปลี่ยนแปลงเร็วเกินกว่าที่จะได้รับประโยชน์จากมัน หรือคนเหล่านี้ยังพยายามมองหาแรงจูงใจในแง่ของผลตอบแทนเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาอย่างจริงจัง ซึ่งแน่นอนว่ามันก็ถูกหากต้องมีการเปลี่ยนแปลงอะไรก็ตาม

สำหรับองค์กรที่ต้องการเปิดรับศักยภาพของระบบออโตเมชั่น การใส่ใจต่อสิ่งสำคัญบางประการสามารถเร่งให้เกิดการพัฒนาอันนำไปสู่การใช้งานจริงได้:

 

i.            สร้างการตระหนักรู้: อุปสรรคที่ใหญ่ที่สุดของระบบออโตเมชั่นมักเป็นเรื่องของภายในองค์กร ดังนั้นความตระหนักรู้ ความเข้าใจ และการยอมรับล้วนมีความสำคัญ

ii.          เน้นที่คุณค่า: มีเป้าหมายที่ชัดเจนและตั้งคำถามอยู่เสมอว่ากระบวนการที่คุณต้องการเปลี่ยนให้เป็นระบบออโตเมชั่นจะให้คุณค่ามากกว่าในที่สุดใช่หรือไม่

iii.        ทำให้ระบบออโตเมชั่นมีความสำคัญ: ขจัดอุปสรรคที่มีอยู่และพยายามมองหาสิ่งที่อาจเป็นปัญหา ในอนาคต จัดการกับความกลัวและข้อกังวลต่างๆ และช่วยให้ผู้คนเข้าใจถึงประโยชน์ที่จะได้รับจากระบบออโตเมชั่นอย่างแท้จริง

 

ผู้เขียน

 

วีเจย์ บาลาจิ แมเดสวารัน ผู้อำนวยการฝ่าย Applied Data Science ของ dunnhumby APAC ดูแลรับผิดชอบทางด้านการลงทุน การสร้างพันธมิตร การเข้าถึงและปรับแต่งระบบ เพื่อช่วยให้ธุรกิจค้าปลีกและแบรนด์ต่างๆ ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการตระหนักถึงคุณค่ามหาศาลของข้อมูลที่มีอยู่

 
 
 
 
 

 




ความรู้ทั่วไป

ผู้ปกครองหมั่นสังเกต! "โรคตาขี้เกียจ" ภาวะมองเห็นไม่ชัดที่พบบ่อยในเด็ก แพทย์ รพ. วิมุต ชี้ รู้ไว-รักษาได้ พ่อแม่รีบเช็กอาการเสี่ยง ก่อนรักษาไม่หาย
โรคไบโพลาร์ รับมือได้ไม่ยาก หากเข้าใจ
ภัยเงียบจากอุตสาหกรรมแร่ใยหิน อันตรายถึงชีวิต
แรนซั่มแวร์คืออะไร? ทำความเข้าใจการโจมตี และกลยุทธ์การป้องกันสำหรับองค์กรจาก Synology
ไม่ได้ไม่รัก แต่รักไม่ได้ “โรคกลัวความรัก” ภาวะกลัวถึงขั้นตัวสั่น หายใจติดขัด แพทย์ รพ. วิมุต ชี้ ปรึกษาแพทย์ก็หายได้ ก่อนรุนแรงจนรบกวนการใช้ชีวิต
ถ้าจะลดน้ำหนัก รู้จัก ฮอร์โมนหิว-อิ่ม หรือยัง ? โดย รศ.พญ.อภัสนี บุญญาวรกุล อายุรแพทย์โรคต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
ลดบวมน้ำเหลืองในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ด้วยเครื่องบำบัดแรงดันลบ
‘จุลินทรีย์ในระบบทางเดินอาหาร’ เพื่อนตัวจิ๋วที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย แพทย์ รพ. วิมุต แนะ รักษาสมดุลจุลินทรีย์ให้ดีก่อนล้มป่วย
หยุด! “โรคสายตาขี้เกียจ” ในเด็ก บันไดแรกก่อนสู่วัยเรียน
"ไข้เลือดออก" ครองแชมป์อันดับ 1 โรคระบาดในไทยปี 66 สูง 3 เท่า มีโอกาสเป็นซ้ำได้
finbiz by ttb แนะจัดทำ “คาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร” คู่มือนำธุรกิจสู่ความยั่งยืน
ปัญหาลูกกินยากแก้ได้ด้วยการฝึกวินัยการกิน
‘โรคกระดูกพรุน’ ภัยเงียบที่ไม่ควรมองข้าม แพทย์ รพ.วิมุต แนะ ‘ออกกำลังกาย-กินอาหารมีประโยชน์’ พร้อมตรวจคัดกรองก่อนกระดูกบางหรือพรุนจนเกิดอันตราย
มะเร็งเต้านม: ภัยร้ายที่สามารถเอาชนะได้
วิธีสร้างธุรกิจให้เติบโต ฉบับปี 2566
เช็กลิสต์ 10 ข้อที่ควรรู้ก่อนทำศัลยกรรมดึงหน้า
โรคที่ผู้ชายห้ามมองข้าม! "ต่อมลูกหมากโต" ภัยร้ายที่บั่นทอนการใช้ชีวิตของชายสูงวัย แพทย์ รพ. วิมุต เตือน เป็นแล้วรีบรักษาก่อนเกิดภาวะแทรกซ้อน
เปิดเส้นทางพัฒนาชุมชนปากพูนสู่หมุดหมายท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ผ่านเทศกาล “ล่องเรือ กินปู ดูหิ่งห้อย”
ไล่จับ!! 6 ภาวะโรคไทรอยด์ที่พบบ่อย ให้ทัน ‘ก่อนเป็นพิษ’ แม้ช้าเพียงนิด อาจเสี่ยง‘หัวใจวาย’
แพทย์ รพ.วิมุต แนะ ลดด่วน! สาวเมืองกรุงอ้วนลงพุงกว่า 60% เผยค่าเฉลี่ยทั้งประเทศสูงกว่าชายเกือบเท่าตัว
หูตึง ภัยเงียบ เสี่ยงสมองเสื่อม หมอจุฬาฯ ร่วมกับทุนวิจัยรัฐบาลอังกฤษ จัดให้ความรู้นิทรรศการ “บ้านนก” ครั้งแรกในไทย
ไทรอยด์เป็นพิษ อย่าคิดว่าไกลตัว แพทย์ชี้ใครๆ ก็เป็นได้ พร้อมเผยอาการเสี่ยงก่อนสาย
ไม่ประมาท อาการ Long Covid ทำร้ายสุขภาพ แนะนำทานสมุนไพร ฟื้นฟูร่างกายหลังจากติดเชื้อ
การพัฒนาพี้นที่รอบสถานีขนส่งสาธารณะแบบ TOD ต่างกับ TAD อย่างไร
ไขข้อสงสัย “ภาวะมีบุตรยาก” และวิธีเพิ่มโอกาสตั้งครรภ์ด้วย “IVF”
รู้ให้รอบก่อนทำ ศัลยกรรมปาก ศัลยกรรมริมฝีปาก แบ่งได้ออกเป็นกี่แบบ
รู้ทันทุกอาการและสาเหตุ “โรคไต” ตัดวงจรโรคร้าย ก่อนสายเกินไป
ถอดรหัสวิธีเด็ด เคล็ดลดความอ้วน สูตรสำเร็จ จาก ยันฮี
เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ อินดัสเทรียล (ประเทศไทย) ประเดิมฤกษ์ดีลงเสาเอกพัฒนาศูนย์กระจายสินค้า ให้แก่ DKSH (Thailand) ผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ชั้นนำระดับโลก
SLEEP TEST จับผิดการนอน ก่อนหยุดหายใจขณะหลับ (พร้อมแบบทดสอบออนไลน์)
21 ไอเดีย 21 พื้นที่แห่งความสุข ณ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชทั่วไทย
บ้านเก่าอายุมากกว่า 15 ปีควรตรวจอะไรบ้าง
ห่วง! องค์การอนามัยโลกเตือน หูไม่ได้ยิน เสี่ยงสมองเสื่อมและพัฒนาการช้า ย้ำเป็นปัญหาใหญ่กว่าที่คิด หมอจุฬาฯ แนะตรวจคัดกรองผู้สูงวัย 50 ปีขึ้นไป และเด็กก่อนวัยเรียนทุกคน
ปลดล็อก!! ข้อสงสัยเสริมหน้าอกหลักหมื่นถึงหลักล้านต่างกันอย่างไร??
เจาะลึกวัคซีนชนิด mRNA กับการสร้างเกราะป้องกันไวรัสโควิด-19 กลายพันธุ์
แบบบ้านฟรีมีที่ไหน? แนะ 4 เรื่องควรรู้หลังได้แบบบ้านฟรี
WFH กับความเสี่ยงของกระดูกสันหลังและต้นคอ บทความ โดย : นพ.ธีรฉัตต์ ธนะสารสมบูรณ์ ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลนครธน article
พลิกโฉมสกินแคร์ไทย! วิศวะฯ มธ. เปิดมุมมองสะท้อนบทบาทของวิศวกรเคมี ปรับตัวขานรับ กม. ห้ามใช้ครีมกันแดดในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
โรคแพนิค (Panic Disorder) และ ‘PANIC ATTACK’ ภาวะกังวลที่อันตรายกว่าที่คาดคิด
หน้าฝนมาแล้ว...ภูมิแพ้หลบหน่อย
บอกลาอาการปวดเข่า ปวดข้อ พร้อมบำรุงกระดูกให้แข็งแรงด้วย MEGAMIN Calcium LT+
คุณพ่อคุณแม่ควรรู้วิธีรับมือ 5 สาเหตุที่ลูกดื้อ ต่อต้าน ไม่เชื่อฟัง
ผลวิจัย หลักสูตรวิทยาการชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ ธุรกิจบัณฑิตย์ เผย! ฉีดฟิลเลอร์รักษาริ้วรอยรอบดวงตา สามารถเพิ่มความภาคภูมิใจ และคุณภาพชีวิตของผู้หญิงได้
ผลวิจัย หลักสูตรวิทยาการชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ ธุรกิจบัณฑิตย์ เผย! ฉีดฟิลเลอร์รักษาริ้วรอยรอบดวงตา สามารถเพิ่มความภาคภูมิใจ และคุณภาพชีวิตของผู้หญิงได้
แบคทีเรียร้ายในกระเพาะอาหาร…ภัยร้ายของกระเพาะอาหาร
มาสำรวจตัวเองกันหน่อย คุณเป็นโรคนิ้วล็อกอยู่หรือเปล่า
คุณแม่ตั้งครรภ์ควรรู้ … ทำอย่างไรไม่ให้เกิด “ภาวะครรภ์เสี่ยงสูง”
เบาหวานกับโควิด ชีวิตไปทางไหน
มาตรวจเบาหวานกันเถิด
แคลเซียมนั้นสำคัญไฉน !? รู้จักที่มาและความเสี่ยง หากชีวิตนี้ขาดแคลเซียม !!
อยู่บ้านต้องปลอดฝุ่น เพราะไม่เห็นไม่ได้แปลว่าไม่มี ! รู้เท่าทันภัยเงียบที่ก่อให้เกิดโรคภูมิแพ้แบบไม่รู้ตัว
ธุรกิจแฟรนไชส์ พิชิต วิกฤติโควิด “สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้”
“วัคซีนภูมิแพ้” ทางเลือกสำหรับคนเป็นภูมิแพ้…เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
Work from Home อย่างไร ไม่ส่งผลร้ายต่อกระดูกและข้อ
เปิดคู่มือฉีดวัคซีนโควิด-19 ขั้นตอนการเตรียมตัวก่อน-หลัง “เช็คก่อนฉีด” พร้อมวิธีลดความเสี่ยงจาก “ภัยเงียบ” อย่างมั่นใจ
โรคไวรัสโควิด-19 เมื่อต้องรักษาในห้อง ICU รักษาอย่างไร
อาหารน้องหมา-น้องแมวตามช่วงวัย ความใส่ใจของเจ้าของ สู่ความสุขภาพดีของสัตว์เลี้ยง
“RSV” ไวรัสตัวร้าย ป้องกันได้ถ้าไม่อยากให้ลูกป่วย (Respiratory Syncytial Virus)
“ปวดหัว” โรคยอดฮิตใกล้ตัวที่ไม่ควรปล่อยให้เรื้อรัง
ปฏิวัติทุกความเชื่อด้านการบริหารจัดการองค์กร ‘ในโลกเก่า’ โมเดลการบริหารองค์กรยุคใหม่ที่ “มองคนเป็นหัวใจสำคัญ”
ไม่มีโรคภัย = ปัจจัยสร้างความสุข’ ทริคสร้างสุขแบบเวชศาสตร์ครอบครัว
ฟิลิปส์เผยสถิติใหม่ วิกฤติโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อการนอนหลับ แนะคนไทยใส่ใจการนอนอย่างมีคุณภาพเนื่องในวันนอนหลับโลก
ทำความรู้จัก “ไข้หวัดใหญ่” ญาติห่างๆ ของโควิด-19 และ “วัคซีนชนิดเชื้อตาย” ที่มาก่อนกาล
เช็คด่วน! 5 สัญญาณเตือน “เส้นผม-หนังศีรษะ” ของคุณกำลังเริ่มมีปัญหา
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลแนะตรวจ “ต้อหิน” ปีละ 1 ครั้ง ชี้รู้เร็วรักษาได้ป้องกันไม่ให้ตาบอด
เข้าใจอีกด้านของการลดน้ำหนัก ด้วย “วิธีการผ่าตัด” การรักษาโรคอ้วน ที่ไม่น่ากลัวอย่างคิด
อาการมือเท้าสั่นโดยไม่ทราบสาเหตุ สัญญาณอันตรายใกล้ตัวที่อาจส่งผลต่อชีวิตคุณ
ใช้เครื่อง CPAP แล้วทำไมยังไม่หายง่วง
มุมมอง “ครูเบล” 10 เทคนิคเรียนเก่ง ครูที่เคยได้ 16 ทุน จาก 10ประเทศทั่วโลก
อาการมือเท้าสั่นโดยไม่ทราบสาเหตุ สัญญาณอันตรายใกล้ตัวที่อาจส่งผลต่อชีวิตคุณ
บทเรียนนางงาม จากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง: กับทัศนคติ ผู้หญิงอย่าหยุดสวย...ต้องสวยและมั่นใจขึ้นกว่าเมื่อวาน เคล็ดลับสวยสมมง ฉบับ น้ำตาล – ชลิตา
รู้จัก 4 สารอันตรายใน “ครีมเร่งขาว” ภัยร้ายที่อยู่คู่ค่านิยมความขาวในสังคมไทย
เผยประชากรโลกมีภาวะหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้นเกือบ 1 พันล้านคน
ไขข้อสงสัย “น้ำมะพร้าว” เพิ่มสมรรถภาพทางเพศ !? กับผลการศึกษาจริงใน “หนูทดลอง”
ตั้งการ์ดให้พร้อมอยู่เสมอ ด้วย 3 คุณประโยชน์ของกระเทียม สมุนไพรเพื่อสุขภาพตั้งแต่อดีตสู่อนาคต
“มะเร็งในเด็ก” สาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของเด็กและวัยรุ่น หากตรวจพบเร็ว ช่วยให้มีโอกาสรอดชีวิต
ฉีดฟิลเลอร์แล้วเป็นก้อนเกิดจากสาเหตุอะไร แก้ไขอย่างไรได้บ้าง สามารถฉีดสลายฟิลเลอร์ออกได้หรือไม่วันนี้เรามีคำตอบจากคุณหมอต้น นายแพทย์สฤษดิ์ ตันติอภิชาต อาจารย์แพทย์ด้านฟิลเลอร์ ค่ะ
“โรคซึมเศร้า” เกิดจากสารเคมีในสมองผิดปกติ ไม่ใช่ความอ่อนแอของใจ ทำความเข้าใจและรับมือ เป็นได้ก็รักษาให้หายได้
ดื้อโบ คืออะไร - 0% impurities สำคัญขนาดไหน “รศ.พญ.รังสิมา” ไขข้อข้องใจ และชวนปลุกพลัง “Confidence to be…” ให้หนุ่มสาวยุคใหม่สวยหล่อเป็น “เดอะเบสต์เวอร์ชั่น” ของตัวคุณเอง
เจาะลึก 7 แบบแหวนเพชรสุดฮิต เลือกอย่างไรให้ตรงใจ
ปรับแก้ไขโครงสร้างใบหน้าให้อย่างไร?? ให้ดูละมุน มีมิติ
“ปวดคอ มือชา ปวดร้าวที่แขน” อย่าปล่อยไว้ เสี่ยงเป็น “หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท” อันตรายถึงขั้นอัมพฤกษ์อัมพาต
คณะราษฎรโดยจอมพล ป มอบที่ดินให้จุฬาฯ
อย่าคิดว่า “นอนกรน” เป็นเรื่องปกติ อาจอยู่ในกลุ่มเสี่ยงภาวะหยุดหายใจขณะหลับ อันตรายถึงชีวิต
จัดงานแต่งเล็กๆ ให้เพอร์เฟ็กต์ ทำได้ไม่ยาก!!
“สินบน” ภัยร้ายกระทบธุรกิจไทย –ป.ป.ช. แนะ 8 หลักการป้องกันตัดไฟตั้งแต่ต้นลม
แนะเคล็ดลับ “ปรับบ้านรับทรัพย์ ตามหลักฮวงจุ้ย” กับหมอช้าง-ทศพร ศรีตุลา
“ดูดนิ้ว หยิบของเข้าปาก” หากลูกน้อยคุณกำลังอยู่ในวัยนี้ พึงเฝ้าระวัง อาจเสี่ยงเป็นโรคท็อปฮิต “มือ เท้า ปาก” ได้
เกษตรกรแห่ใช้ชีวภัณฑ์ไส้เดือนฝอยกำจัดแมลงสายพันธุ์ไทย กรมวิชาการเกษตรรุดสร้างเกษตรกรต้นแบบผลิตเองได้ใช้เป็น
กว่าจะถึงวันนี้…โรคโกเช่ร์ หนึ่งในโรคหายาก โมเดลต้นแบบแห่งความหวังของกลุ่มโรคพันธุกรรม LSD ในอนาคต
ศัลยกรรมหน้าอย่างไร ให้ปัง!! ไม่พัง! ไม่โป๊ะ!
รู้หรือไม่ โรคที่มากับหน้าฝนไม่ได้มีแต่ไข้เลือดออก “ชิคุนกุนยา” อีกโรคยอดฮิตที่มากับยุงลายพาหะตัวร้าย
5 เทคนิคเรียนออนไลน์ให้สำเร็จ สนุก และมีประสิทธิภาพ
สังเกตุตนเองให้ดี คุณเสี่ยงเป็นโรคพยาธิหรือเปล่า?
ปวดข้อ-ปวดเข่าเรื้อรัง ไม่หายเสียที มา Checklist กันหน่อย ปวดแบบไหนเสี่ยงเป็นโรค “ข้อเข่าเสื่อม”
“โรคธาลัสซีเมีย” มรดกถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูก วางแผนครอบครัวก่อนแต่งงานมีบุตร ลดการเกิดผู้ป่วยรายใหม่
คลายข้อสงสัย?? หน้ากากผ้าทั่วไปสามารถป้องกันไวรัส COVID-19 ได้หรือไม่
5 เทคนิคท่องเที่ยวฉบับมือโปรรับยุคใหม่แบบ New Normal
“ก้างปลาติดคอ” เรื่องเล็กที่ไม่เล็ก ปล่อยไว้นาน อาจเกิดภาวะแทรกซ้อน ติดเชื้อเป็นหนองได้





ช่องยูทูป INTV Thai


Copyright © 2016 inTV co.,Ltd. All Rights Reserved ติดต่อโฆษณา โทร.081-927-2471 และ 02-733-8791-3