หมอชี้แนะ ยกของหนักผิดท่า เสี่ยงโรคหมอนรองกระดูกสันหลังปลิ้น
dot dot
หมอชี้แนะ ยกของหนักผิดท่า เสี่ยงโรคหมอนรองกระดูกสันหลังปลิ้น

หมอชี้แนะ ยกของหนักผิดท่า

เสี่ยงโรคหมอนรองกระดูกสันหลังปลิ้น

 
 

แพทย์เฉพาะทางด้านกระดูกสันหลัง เผย โรคหมอนรองกระดูกสันหลังทับเส้นประสาท เกิดกับคนวัยหนุ่มสาวได้ หากมีพฤติกรรมยกของหนักด้วยท่าที่ไม่เหมาะสม รุนแรงถึงขั้นหมอนรองกระดูกสันหลังปลิ้น

 หมอนรองกระดูกสันหลัง คือ เนื้อเยื่อที่มีลักษณะด้านนอกคล้ายยางรถยนต์ ส่วนด้านในจะมีลักษณะคล้ายวุ้นอยู่ระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละข้อตั้งแต่คอ อก จนถึงเอว ทำหน้าที่เป็นข้อต่อรองรับการเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลัง และมีหน้าที่ช่วยรับแรงกระแทกเมื่อทำกิจกรรมต่างๆ เช่น ยืน กระโดด บิดตัว และเพิ่มความยืดหยุ่นของการเคลื่อนไหว

                โดยปกติแล้วโรคหมอนรองกระดูกสันหลังทับเส้นประสาท มักเกิดกับกลุ่มคนอายุมากแต่อาจเกิดในวัยหนุ่มสาวได้หากมีกิจกรรมที่ส่งผลต่อความเสื่อมของหมอนรองกระดูกสันหลังที่ไวขึ้น เช่น ยกของหนักด้วยท่าที่ไม่เหมาะสม นั่ง หรือ ยืนทำงานที่ไม่ถูกท่า หรือ ได้รับผลกระทบจากอุบัติเหตุ และถูกกระแทกรุนแรงที่กระดูกสันหลัง ออกกำลังกายหักโหม และน้ำหนักตัวที่มากเกินไป

 นพ.ชุมพล คคนานต์ แพทย์เฉพาะทางด้านกระดูกสันหลัง เปิดเผยว่า โรคกระดูกสันหลังที่พบบ่อยมักแตกต่างกันไปตามช่วงอายุ ผู้ที่มีอายุน้อย ปัญหาส่วนใหญ่มักเกี่ยวข้องกับหมอนรองกระดูกสันหลังปลิ้น แต่หากอายุมากขึ้น มักพบโรคโพรงเส้นประสาทตีบ ซึ่งสามารถเกิดได้ทั้งในส่วนของกระดูกสันหลังคอและหลัง โดยส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากภาวะเสื่อมของโครงสร้างกระดูกและเนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นตามวัย

                สถิติการรักษาโรคกระดูกสันหลังที่โรงพยาบาลเอส สไปน์

1. โพรงเส้นประสาทตีบแคบ

2. หมอนรองกระดูกสันหลังปลิ้น

3. กระดูกสันหลังเคลื่อน

4. กระดูกยุบตัวจากภาวะกระดูกพรุน

5. อาการที่เกี่ยวกับออฟฟิศซินโดรม

 พฤติกรรมที่ส่งผลต่อกระดูกสันหลังมักเกี่ยวข้องกับการใช้งานที่ไม่เหมาะสม เช่น การนั่งหรือยืนนานๆ การยกของหนัก และการขาดการออกกำลังกาย โดยในกลุ่มผู้สูงอายุ ปัญหามักเกิดจากการนั่งทำงานโต๊ะนานๆ เช่น การเขียนหนังสือหรือทำงานบัญชี ส่วนในกลุ่มวัยรุ่นหรือคนวัยทำงาน ปัญหาส่วนใหญ่มักเกิดจากการใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น การใช้คอมพิวเตอร์หรือโน้ตบุ๊กเป็นเวลานาน ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้อาจนำไปสู่ปัญหาเกี่ยวกับกระดูกสันหลังส่วนคอ

แม้ว่าการออกกำลังกายจะช่วยให้สุขภาพแข็งแรง แต่ถ้าออกกำลังกายผิดวิธี ผิดท่าหรือไม่เหมาะสม อาจเสี่ยงผลกระทบที่เกิดขึ้นกับร่างกายได้ โดยเฉพาะการออกกำลังกายด้วยการยกน้ำหนัก หากยกผิดท่าหรือน้ำหนักเกินกำลัง อาจเสี่ยงหมอนกระดูกสันหลังปลิ้นกดทับเส้นประสาทได้ เพราะในขณะที่ออกแรงยกจะทำให้เกิดแรงดันที่หมอนรองกระดูกสันหลัง จนเกิดการแตกปลิ้นและกดทับเส้นประสาท

 สำหรับอาการที่บ่งบอกว่าคุณอาจมีปัญหาหมอนรองกระดูกสันหลังปลิ้น

- ปวดหลังส่วนล่างหรือปวดคอ

- ปวดบริเวณก้นหรือสะโพก ร้าวลงขา (อาการของเส้นประสาทไซแอติก)

- ชาหรือรู้สึกเสียวแปลบเหมือนไฟช็อต ร้าวลงแขนหรือขา

- มีปัญหาในการก้มตัวหรือยกของ

- การทรงตัวผิดปกติ

- กล้ามเนื้ออ่อนแรงหรือมีปัญหาเกี่ยวกับการขับถ่าย (ในกรณีที่เส้นประสาทถูกกดทับเป็นเวลานาน)

 นพ.ชุมพล ยังเผยอีกว่า การรักษาโรคหมอนรองกระดูกสันหลังปลิ้น ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของอาการ แพทย์อาจพิจารณาวิธีการรักษา ดังนี้

                การรักษาโรคกระดูกสันหลังที่ต้นเหตุมีความสำคัญอย่างยิ่งในการรักษาผู้ป่วยให้หายขาดและยั่งยืน การรักษาที่เน้นสาเหตุของโรคมากกว่าการรักษาตามอาการ ด้วยนวัตกรรมเฉพาะทางช่วยให้หายจากอาการปวดต่างๆ โดยไม่ต้องพึ่งพายาแก้ปวดอย่างต่อเนื่อง เพื่อการรักษาที่ตรงจุดและมีประสิทธิภาพ การวินิจฉัยที่แม่นยำด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย จึงเป็นสิ่งสำคัญในการติดตามผลการรักษา 

 ในกรณีที่มีอาการผิดปกติทางกระดูกสันหลัง เช่น ปวดหลังร้าวลงขา หรือปวดโดยไม่ทราบสาเหตุ การตรวจด้วยเครื่อง MRI จะช่วยให้แพทย์วินิจฉัยโรคได้อย่างแม่นยำ แต่ต้องอ่านผลควบคู่กันกับการ X-ray เพราะจะทำให้เห็นโครงสร้างกระดูกสันหลังได้ชัดเจน ที่โรงพยาบาลเอส สไปน์ มี เครื่อง MRI แบบยืน (Standing MRI) ซึ่งเป็นนวัตกรรมใหม่ที่ช่วยให้การตรวจมีความแม่นยำมากขึ้น ผู้ป่วยสามารถยืนหรือนั่งระหว่างตรวจ เพื่อสร้างแรงกดลงในแนวดิ่ง คล้ายกับการใช้งานในชีวิตประจำวัน ทำให้แพทย์สามารถประเมินอาการและวินิจฉัยโรคได้ใกล้เคียงกับสภาพจริงมากขึ้น นอกจากนี้ เครื่องยังออกแบบให้มีลักษณะเปิดโล่งด้านข้างทั้งสองฝั่ง ช่วยลดความกังวลสำหรับผู้ที่มีภาวะกลัวที่แคบ หลังการวินิจฉัยด้วยเครื่องมือที่แม่นยำ แพทย์จะเลือกวิธีรักษาที่เหมาะสมกับระดับความรุนแรงของอาการ เช่น การฉีดยาระงับการอักเสบในกรณีที่หมอนรองกระดูกสันหลังเริ่มปูดหรือปลิ้นออกมาเล็กน้อย การจี้ด้วยเลเซอร์เพื่อลดแรงกดในกรณีที่หมอนรองกระดูกสันหลังปลิ้นไม่มาก หรือการผ่าตัดส่องกล้องสำหรับกรณีที่หมอนรองกระดูกสันหลังปลิ้นมากจนกดทับเส้นประสาท

                โรงพยาบาลเอส สไปน์ มีความเชี่ยวชาญด้าน เทคนิคการผ่าตัดแบบ MIS (Minimally Invasive Surgery) ซึ่งมีข้อดีหลายประการ เช่น แผลขนาดเล็ก เจ็บตัวน้อย ความปลอดภัยสูง และฟื้นตัวเร็ว ผู้ป่วยสามารถกลับบ้านได้ภายใน 1 คืน ทำให้สะดวกและลดเวลาพักฟื้น

                หากคุณกำลังทุกข์ทรมานจากอาการปวดหลังหรือคอ และสงสัยว่าอาจเป็นโรคหมอนรองกระดูกสันหลังปลิ้น อย่าปล่อยให้อาการลุกลาม พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพื่อรับการตรวจวินิจฉัยและวางแผนการรักษาที่เหมาะสมได้ที่โรงพยาบาล เอส สไปน์ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืน

 
 
 
 

 




สุขภาพ-ความงาม

แอสตร้าเซนเนก้า MoU คณะแพทยศาสตร์ศิริราช ขับเคลื่อนการวิจัยทางคลินิกในไทย
รพ.นครธน โชว์ความคืบหน้า รพ.แห่งที่ 2 รับสิทธิ์ประกันสังคม คาดเปิดดำเนินการปี’68
Low Level Laser ชะลอการหลุดร่วง ฟื้นฟูรากผม+เส้นผมแบบ 360 องศา
‘GFC’ เสิร์ฟข่าวดี Grand Opening 2 สาขาใหม่ โชว์เคสสานฝันคู่รักดารามีทายาทส่งท้ายปีมังกร
บี.บราวน์ & เอสคูแลป อะคาเดมี่ ปท. ร่วมกับรพ.ศิริราช-สมาคมฯ ยกระดับวิสัญญี
“นก จันทนา” ย่องอัพหน้าสวยโกงอายุจริง หลังพลาดศัลยกรรมพ่นพิษหน้าพัง-อกเน่า
Amarante Clinic พร้อมพลิกวงการรักษาสิวด้วย AviClear article
BDMS ตอกย้ำผู้นำตลาดสุขภาพเชิงป้องกัน ดูดลูกค้าต่างชาติดันยอดเติบโตไม่หยุด พร้อมเปิดตัวเทคโนโลยีใหม่ รากฟันเทียมเซรามิก
ฟังหมอชี้แนะ โรคหลอดเลือดสมอง 'รู้ เร็ว รอด’ แพทย์จุฬาฯ จับมือ เบอร์ริงเกอร์ จัดตั้งคลังความรู้
รพ.กรุงเทพคริสเตียน ทุ่มทุนเฉียด 100 ล้าน เปิดตัวเทคโนโลยีเหนือชั้น Spectral CT สแกนมะเร็ง
SOLUX Clinic เปิดตัวอย่างยิ่งใหญ่ ตอกย้ำความสวยที่มีระดับ (พรีเมียม)
ถอดบทเรียน ‘โรคโกเชร์’ สร้างโอกาสการเปลี่ยนแปลง สู่การดูแลผู้ป่วยโรคหายากอย่างยั่งยืน วอนภาครัฐอย่าทิ้งผู้ป่วยไว้ข้างหลัง...เร่งผลักดันการเข้าถึงการรักษาโรคหายาก
แพทย์ !!! เตือนสาว ๆ ยุคใหม่ “ซีสต์รังไข่ ..อันตรายกว่าที่คิด” ตัวการโรคร้ายที่ผู้หญิงต้องระวัง
โรคจิตหลงผิด ภัยเงียบที่ซ่อนอยู่ในจิตใจ
หยุดชอปปิงไม่ได้ สัญญาณอันตรายของโรคเสพติดการชอปปิง
โรคหัวใจห้องบนสั่นพลิ้ว ภัยเงียบอันตรายที่พร้อมคร่าชีวิต
คนกรุงเทพฯ ติดอันดับโลก “Work ไร้ Balance” แพทย์ รพ.วิมุต ชี้ ระวังเป็น "ภาวะสมองล้า" ไม่รู้ตัว! แนะหยุดโหมงาน-ปรับพฤติกรรมด่วน ก่อนเสี่ยงโรคอีกเพียบ
“เครียดลงกระเพาะ” โรคฮิตที่อย่ามองข้ามความเครียด คือ จุดเริ่มต้นของโรคร้าย
เลี้ยงลูกตามใจ ไม่เคยขัดใจ เด็กอาจเสี่ยงเป็น”ฮ่องเต้ซินโดรม”
ถ่ายเป็นเลือด เจ็บปวดทรมาน ติ่งเนื้อยื่นออกมาบริเวณรูทวาร “ริดสีดวงทวาร” โรคฮิตที่หลายคนหวาดผวา
ผู้ปกครองหมั่นสังเกต! "โรคตาขี้เกียจ" ภาวะมองเห็นไม่ชัดที่พบบ่อยในเด็ก แพทย์ รพ. วิมุต ชี้ รู้ไว-รักษาได้ พ่อแม่รีบเช็กอาการเสี่ยง ก่อนรักษาไม่หาย
โรคไบโพลาร์ รับมือได้ไม่ยาก หากเข้าใจ
ภัยเงียบจากอุตสาหกรรมแร่ใยหิน อันตรายถึงชีวิต
แรนซั่มแวร์คืออะไร? ทำความเข้าใจการโจมตี และกลยุทธ์การป้องกันสำหรับองค์กรจาก Synology
ไม่ได้ไม่รัก แต่รักไม่ได้ “โรคกลัวความรัก” ภาวะกลัวถึงขั้นตัวสั่น หายใจติดขัด แพทย์ รพ. วิมุต ชี้ ปรึกษาแพทย์ก็หายได้ ก่อนรุนแรงจนรบกวนการใช้ชีวิต
ถ้าจะลดน้ำหนัก รู้จัก ฮอร์โมนหิว-อิ่ม หรือยัง ? โดย รศ.พญ.อภัสนี บุญญาวรกุล อายุรแพทย์โรคต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
ลดบวมน้ำเหลืองในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ด้วยเครื่องบำบัดแรงดันลบ
‘จุลินทรีย์ในระบบทางเดินอาหาร’ เพื่อนตัวจิ๋วที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย แพทย์ รพ. วิมุต แนะ รักษาสมดุลจุลินทรีย์ให้ดีก่อนล้มป่วย
หยุด! “โรคสายตาขี้เกียจ” ในเด็ก บันไดแรกก่อนสู่วัยเรียน
"ไข้เลือดออก" ครองแชมป์อันดับ 1 โรคระบาดในไทยปี 66 สูง 3 เท่า มีโอกาสเป็นซ้ำได้
finbiz by ttb แนะจัดทำ “คาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร” คู่มือนำธุรกิจสู่ความยั่งยืน
ปัญหาลูกกินยากแก้ได้ด้วยการฝึกวินัยการกิน
‘โรคกระดูกพรุน’ ภัยเงียบที่ไม่ควรมองข้าม แพทย์ รพ.วิมุต แนะ ‘ออกกำลังกาย-กินอาหารมีประโยชน์’ พร้อมตรวจคัดกรองก่อนกระดูกบางหรือพรุนจนเกิดอันตราย
มะเร็งเต้านม: ภัยร้ายที่สามารถเอาชนะได้
วิธีสร้างธุรกิจให้เติบโต ฉบับปี 2566
เช็กลิสต์ 10 ข้อที่ควรรู้ก่อนทำศัลยกรรมดึงหน้า
โรคที่ผู้ชายห้ามมองข้าม! "ต่อมลูกหมากโต" ภัยร้ายที่บั่นทอนการใช้ชีวิตของชายสูงวัย แพทย์ รพ. วิมุต เตือน เป็นแล้วรีบรักษาก่อนเกิดภาวะแทรกซ้อน
เปิดเส้นทางพัฒนาชุมชนปากพูนสู่หมุดหมายท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ผ่านเทศกาล “ล่องเรือ กินปู ดูหิ่งห้อย”
ไล่จับ!! 6 ภาวะโรคไทรอยด์ที่พบบ่อย ให้ทัน ‘ก่อนเป็นพิษ’ แม้ช้าเพียงนิด อาจเสี่ยง‘หัวใจวาย’
แพทย์ รพ.วิมุต แนะ ลดด่วน! สาวเมืองกรุงอ้วนลงพุงกว่า 60% เผยค่าเฉลี่ยทั้งประเทศสูงกว่าชายเกือบเท่าตัว
หูตึง ภัยเงียบ เสี่ยงสมองเสื่อม หมอจุฬาฯ ร่วมกับทุนวิจัยรัฐบาลอังกฤษ จัดให้ความรู้นิทรรศการ “บ้านนก” ครั้งแรกในไทย
ไทรอยด์เป็นพิษ อย่าคิดว่าไกลตัว แพทย์ชี้ใครๆ ก็เป็นได้ พร้อมเผยอาการเสี่ยงก่อนสาย
ไม่ประมาท อาการ Long Covid ทำร้ายสุขภาพ แนะนำทานสมุนไพร ฟื้นฟูร่างกายหลังจากติดเชื้อ
การพัฒนาพี้นที่รอบสถานีขนส่งสาธารณะแบบ TOD ต่างกับ TAD อย่างไร
ไขข้อสงสัย “ภาวะมีบุตรยาก” และวิธีเพิ่มโอกาสตั้งครรภ์ด้วย “IVF”
รู้ให้รอบก่อนทำ ศัลยกรรมปาก ศัลยกรรมริมฝีปาก แบ่งได้ออกเป็นกี่แบบ
รู้ทันทุกอาการและสาเหตุ “โรคไต” ตัดวงจรโรคร้าย ก่อนสายเกินไป
ถอดรหัสวิธีเด็ด เคล็ดลดความอ้วน สูตรสำเร็จ จาก ยันฮี
เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ อินดัสเทรียล (ประเทศไทย) ประเดิมฤกษ์ดีลงเสาเอกพัฒนาศูนย์กระจายสินค้า ให้แก่ DKSH (Thailand) ผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ชั้นนำระดับโลก
SLEEP TEST จับผิดการนอน ก่อนหยุดหายใจขณะหลับ (พร้อมแบบทดสอบออนไลน์)
21 ไอเดีย 21 พื้นที่แห่งความสุข ณ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชทั่วไทย
บ้านเก่าอายุมากกว่า 15 ปีควรตรวจอะไรบ้าง
ห่วง! องค์การอนามัยโลกเตือน หูไม่ได้ยิน เสี่ยงสมองเสื่อมและพัฒนาการช้า ย้ำเป็นปัญหาใหญ่กว่าที่คิด หมอจุฬาฯ แนะตรวจคัดกรองผู้สูงวัย 50 ปีขึ้นไป และเด็กก่อนวัยเรียนทุกคน
ปลดล็อก!! ข้อสงสัยเสริมหน้าอกหลักหมื่นถึงหลักล้านต่างกันอย่างไร??
เจาะลึกวัคซีนชนิด mRNA กับการสร้างเกราะป้องกันไวรัสโควิด-19 กลายพันธุ์
แบบบ้านฟรีมีที่ไหน? แนะ 4 เรื่องควรรู้หลังได้แบบบ้านฟรี
WFH กับความเสี่ยงของกระดูกสันหลังและต้นคอ บทความ โดย : นพ.ธีรฉัตต์ ธนะสารสมบูรณ์ ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลนครธน article
พลิกโฉมสกินแคร์ไทย! วิศวะฯ มธ. เปิดมุมมองสะท้อนบทบาทของวิศวกรเคมี ปรับตัวขานรับ กม. ห้ามใช้ครีมกันแดดในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
ระบบออโตเมชั่น : ตัวช่วยนักวิทยาศาสตร์ข้อมูลในการสร้างความได้เปรียบให้กับธุรกิจห้างค้าปลีก
โรคแพนิค (Panic Disorder) และ ‘PANIC ATTACK’ ภาวะกังวลที่อันตรายกว่าที่คาดคิด
หน้าฝนมาแล้ว...ภูมิแพ้หลบหน่อย
บอกลาอาการปวดเข่า ปวดข้อ พร้อมบำรุงกระดูกให้แข็งแรงด้วย MEGAMIN Calcium LT+
คุณพ่อคุณแม่ควรรู้วิธีรับมือ 5 สาเหตุที่ลูกดื้อ ต่อต้าน ไม่เชื่อฟัง
ผลวิจัย หลักสูตรวิทยาการชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ ธุรกิจบัณฑิตย์ เผย! ฉีดฟิลเลอร์รักษาริ้วรอยรอบดวงตา สามารถเพิ่มความภาคภูมิใจ และคุณภาพชีวิตของผู้หญิงได้
ผลวิจัย หลักสูตรวิทยาการชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ ธุรกิจบัณฑิตย์ เผย! ฉีดฟิลเลอร์รักษาริ้วรอยรอบดวงตา สามารถเพิ่มความภาคภูมิใจ และคุณภาพชีวิตของผู้หญิงได้
แบคทีเรียร้ายในกระเพาะอาหาร…ภัยร้ายของกระเพาะอาหาร
มาสำรวจตัวเองกันหน่อย คุณเป็นโรคนิ้วล็อกอยู่หรือเปล่า
คุณแม่ตั้งครรภ์ควรรู้ … ทำอย่างไรไม่ให้เกิด “ภาวะครรภ์เสี่ยงสูง”
เบาหวานกับโควิด ชีวิตไปทางไหน
มาตรวจเบาหวานกันเถิด
แคลเซียมนั้นสำคัญไฉน !? รู้จักที่มาและความเสี่ยง หากชีวิตนี้ขาดแคลเซียม !!
อยู่บ้านต้องปลอดฝุ่น เพราะไม่เห็นไม่ได้แปลว่าไม่มี ! รู้เท่าทันภัยเงียบที่ก่อให้เกิดโรคภูมิแพ้แบบไม่รู้ตัว
ธุรกิจแฟรนไชส์ พิชิต วิกฤติโควิด “สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้”
“วัคซีนภูมิแพ้” ทางเลือกสำหรับคนเป็นภูมิแพ้…เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
Work from Home อย่างไร ไม่ส่งผลร้ายต่อกระดูกและข้อ
เปิดคู่มือฉีดวัคซีนโควิด-19 ขั้นตอนการเตรียมตัวก่อน-หลัง “เช็คก่อนฉีด” พร้อมวิธีลดความเสี่ยงจาก “ภัยเงียบ” อย่างมั่นใจ
โรคไวรัสโควิด-19 เมื่อต้องรักษาในห้อง ICU รักษาอย่างไร
อาหารน้องหมา-น้องแมวตามช่วงวัย ความใส่ใจของเจ้าของ สู่ความสุขภาพดีของสัตว์เลี้ยง
“RSV” ไวรัสตัวร้าย ป้องกันได้ถ้าไม่อยากให้ลูกป่วย (Respiratory Syncytial Virus)
“ปวดหัว” โรคยอดฮิตใกล้ตัวที่ไม่ควรปล่อยให้เรื้อรัง
ปฏิวัติทุกความเชื่อด้านการบริหารจัดการองค์กร ‘ในโลกเก่า’ โมเดลการบริหารองค์กรยุคใหม่ที่ “มองคนเป็นหัวใจสำคัญ”
ไม่มีโรคภัย = ปัจจัยสร้างความสุข’ ทริคสร้างสุขแบบเวชศาสตร์ครอบครัว
ฟิลิปส์เผยสถิติใหม่ วิกฤติโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อการนอนหลับ แนะคนไทยใส่ใจการนอนอย่างมีคุณภาพเนื่องในวันนอนหลับโลก
ทำความรู้จัก “ไข้หวัดใหญ่” ญาติห่างๆ ของโควิด-19 และ “วัคซีนชนิดเชื้อตาย” ที่มาก่อนกาล
เช็คด่วน! 5 สัญญาณเตือน “เส้นผม-หนังศีรษะ” ของคุณกำลังเริ่มมีปัญหา
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลแนะตรวจ “ต้อหิน” ปีละ 1 ครั้ง ชี้รู้เร็วรักษาได้ป้องกันไม่ให้ตาบอด
เข้าใจอีกด้านของการลดน้ำหนัก ด้วย “วิธีการผ่าตัด” การรักษาโรคอ้วน ที่ไม่น่ากลัวอย่างคิด
อาการมือเท้าสั่นโดยไม่ทราบสาเหตุ สัญญาณอันตรายใกล้ตัวที่อาจส่งผลต่อชีวิตคุณ
ใช้เครื่อง CPAP แล้วทำไมยังไม่หายง่วง
มุมมอง “ครูเบล” 10 เทคนิคเรียนเก่ง ครูที่เคยได้ 16 ทุน จาก 10ประเทศทั่วโลก
อาการมือเท้าสั่นโดยไม่ทราบสาเหตุ สัญญาณอันตรายใกล้ตัวที่อาจส่งผลต่อชีวิตคุณ
บทเรียนนางงาม จากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง: กับทัศนคติ ผู้หญิงอย่าหยุดสวย...ต้องสวยและมั่นใจขึ้นกว่าเมื่อวาน เคล็ดลับสวยสมมง ฉบับ น้ำตาล – ชลิตา
รู้จัก 4 สารอันตรายใน “ครีมเร่งขาว” ภัยร้ายที่อยู่คู่ค่านิยมความขาวในสังคมไทย
เผยประชากรโลกมีภาวะหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้นเกือบ 1 พันล้านคน
ไขข้อสงสัย “น้ำมะพร้าว” เพิ่มสมรรถภาพทางเพศ !? กับผลการศึกษาจริงใน “หนูทดลอง”
ตั้งการ์ดให้พร้อมอยู่เสมอ ด้วย 3 คุณประโยชน์ของกระเทียม สมุนไพรเพื่อสุขภาพตั้งแต่อดีตสู่อนาคต
“มะเร็งในเด็ก” สาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของเด็กและวัยรุ่น หากตรวจพบเร็ว ช่วยให้มีโอกาสรอดชีวิต
ฉีดฟิลเลอร์แล้วเป็นก้อนเกิดจากสาเหตุอะไร แก้ไขอย่างไรได้บ้าง สามารถฉีดสลายฟิลเลอร์ออกได้หรือไม่วันนี้เรามีคำตอบจากคุณหมอต้น นายแพทย์สฤษดิ์ ตันติอภิชาต อาจารย์แพทย์ด้านฟิลเลอร์ ค่ะ
“โรคซึมเศร้า” เกิดจากสารเคมีในสมองผิดปกติ ไม่ใช่ความอ่อนแอของใจ ทำความเข้าใจและรับมือ เป็นได้ก็รักษาให้หายได้





ช่องยูทูป INTV Thai


Copyright © 2016 inTV co.,Ltd. All Rights Reserved ติดต่อโฆษณา โทร.081-927-2471 และ 02-733-8791-3